แหล่งรวมเกมส์ชั้นนำ สล็อต คาสิโน บาคาร่า พร้อมระบบล้ำทันสมัย รวดเร็วทันใจ

slot wallet cc พารับชมตำนาน Songkran Splash

slot wallet cc

slot wallet cc วันนี้เราจะพาทุกท่าน ไปทำความรู้จักกับความเป็นมา ของประเพณีวันสงกรานต์ ประเพณีที่อยู่คู่คนไทยมายาวนาน และเป็นแรงบันดาลใจของเกม สงกรานต์สาดน้ำ จากค่ายพีจีอีกด้วย

  • ความเป็นมาของวันสงกรานต์
  • กิจกรรมที่ทำในวันสงกรานต์
  • นางสงกรานต์ทั้ง 7

ประเพณีวันขึ้นปีใหม่ของไทย

slot wallet cc

เว็บสล็อต เว็บตรง วันขึ้นปีใหม่ไทย หรือ วันสงกรานต์ ถือเป็นอีกหนึ่งเทศกาล ที่ใครหลายคนรอคอย เนื่องจากจะได้กลับบ้าน เพื่อพบปะกับคนในครอบครัว และเป็นวันหยุดยาว ความเป็นมาของวันสงกรานต์นั้นก็จะมีดังนี้

ความเป็นมาของวันสงกรานต์

สงกรานต์ วันหยุดยาวที่หลายคนรอคอย เพราะนอกจากจะได้หยุดแล้ว ยังมีกิจกรรมมากมาย ให้ทำร่วมกันในช่วงวันหยุดนี้ด้วย ซึ่งช่วงเวลาในประเทศไทยจะตรงกับวันที่ 13-15 เมษายน

ซึ่งอาจจะมีการยืดออกไปบ้างแล้วแต่รัฐจะกำหนด คำว่า สงกรานต์ นั้นมาจากคำว่า สํกฺรานฺติ ซึ่งเป็นภาษาสันสกฤต แปลได้ว่า การเปลี่ยนแปลง หรือ การเปลี่ยนผ่านของดวงดาว ซึ่งตรงกับวันปีใหม่พื้นถิ่นในหลาย ๆ วัฒนธรรมของทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียใต้ [1]

ปีใหม่สุริยคติฮินดู หรือ เมษสังกรานติ

เมษสังกรานติ หมายถึง วันแรกที่ในวัฏจักรปีแบบสุริยคติ หรือก็คือวันขึ้นปีใหม่ตาม ปฏิทินสุริย-จันทรคติแบบฮินดู ซึ่งอยู่ในปฏิทินฮินดู ก็มีปีใหม่จันทรคติเช่นกัน

เมษสังกรานติ นั้นจะตรงกับวันที่ 13 เมษายน และอาจจะมีบางปีก็ตรงกับ 14 เมษายน นอกจากนี้ยังเป็นรากฐานของสำคัญของศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธ และ ศาสนาซิกข์ เช่น วิสาขะ กับ ไวสาขี เป็นต้น [2]

คำเรียกตามชาติพันธุ์

  • ชาวมอญ จะเรียกว่า ว่านอะต๊ะ หรือ ซังกราน
  • ประเทศพม่า เรียกว่า สง์กรน์ หรือ สงฺกนฺตะ, ตะจาน, ตะจั่ง หรือ ตีงจั่ง
  • ประเทศเวียดนาม (ในจังหวัดเซินลา ไทขาว ไทดำ ไทเติ๊ก) เรียกว่า กินสิบสี่
  • ล้านนา กลุ่มชาติพันธุ์ลัวะ เรียกว่า สังขาร หรือ สังขานต์
  • ไทยภาคเหนือ จะเรียกว่า ปีใหม่เมือง
  • ลาว จะเรียกว่า ปีใหม่ลาว
  • ฮินดู สิงหล ศรีลังกา จะเรียกว่า ปีใหม่สิงหล
  • ไทใต้ ไทลื้อในสิบสองปันนา จะเรียกว่า ปอยซ้อนน้ำ หรือ ปอยสาดน้ำ
  • พัวสุ่ยเจี๋ย มาจาก สิบสองปันนา, มณฑลยูนนาน ประเทศจีน
  • ศรีลังกา จะนิยมเรียกว่า อะรุดตา วะรุดตะดา
  • สงก๋าน, สังขาน หรือ ปี๋ใหม่ ภาษาผู้ไทหรือภูไท
  • สังขาน จะเป็นคำเรียกของ ชาวมอญ ล้านนา กลุ่มชาติพันธุ์ไทลาว ไทเขิน และ ไทลื้อ

 

วันที่ 13-15 ตามความเชื่อ

ภาคเหนือ

  • 13 จะเป็นวันสังขารล่อง จะมีความหมายว่า สิ้นสุดไปอีกหนึ่งปี
  • 14 จะเป็นวันเน่า ตามความเชื่อ คือห้ามพูดคำหยาบคาย ให้คิดแต่สิ่งดี ๆ ทำแต่สิ่งดี ๆ เพราะจะทำให้ไม่มีความสุขความเจริญ
  • 15 วันพญาวัน จะหมายถึง วันเถลิงศก หรือวันขึ้นปีใหม่ของล้านนา

ภาคใต้

  • วันที่ 13 จะเป็นวันเจ้าเมืองเก่า หรือวันส่งเจ้าเมืองเก่า เชื่อว่าเทวดารักษาบ้านเมืองจะกลับไปยังสวรรค์
  • วันที่ 14 จะเรียกว่า วันว่าง โดยวันนี้ประชาชนจะไปทำบุญที่วัด
  • วันที่ 15 จะเรียกว่า วันรับเจ้าเมืองใหม่ หมายถึงวันที่เทวดาองค์ใหม่ จะลงมาทำหน้าที่แทนเทวดาองค์ก่อน

กิจกรรมและตำนานนางสงกรานต์

slot wallet cc

ต่อไปเราจะพาทุกท่าน ไปรับชมข้อมูลเกี่ยวกับ กิจกรรมในที่ทำร่วมกันในวันสงกรานต์ และประวัติความเป็นมา ของเหล่านางสงกรานต์ ที่จะวนมาในแต่ละปี

กิจกรรมในวันสงกรานต์

นอกจากจะมีการสาดน้ำ สังสรรค์ ปาร์ตี้กันอย่างสนุกแล้วนั้น ยังมีกิจกรรมมากมายที่สืบทอดกันมาอย่าง

  • การทำบุญตักบาตร ซึ่งเป็นการสร้างบุญกุศล เพื่ออุทิศบุญกุศลนั้นแก่ผู้ล่วงลับ
  • การสรงน้ำพระ จะเป็นงานประเพณีที่มีในทุกหมู่บ้าน ซึ่งจะเป็นงานบุญในการรดน้ำพระพุทธรูป ทั้งที่บ้าน ที่วัด
  • บังสุกุลอัฐิ จะเป็นการนำกระดูก ของญาติผู้ใหญ่ที่จากไปแล้ว มาก่อเป็นเจดีย์ก่อนนิมนต์พระสงฆ์มาทำการบังสุกุล
  • การรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่ จะเป็นการอวยพรให้กับ ครูบาอาจารย์ พ่อแม่ หรือ ผู้ใหญ่ที่เราเคารพนับถือ ซึ่งทุกท่านจะให้ศีลให้พรแก่เรากลับมา
  • ก่อเจดีย์ทราย คือการนำทรายมาก่อเป็นรูปเจดีย์ ตามด้วยการประดับด้วยดอกไม้ต่าง ๆ
  • การขนทรายเข้าวัด ทางภาคเหนือของไทย จะมีการขนทรายเข้าวัด เพื่อให้ชีวิตมีความสุขความเจริญ เปิดทางให้เงินทองไหลมาเทมา
  • การปล่อยนกปล่อยปลา เป็นการสะเดาะเคราะห์อย่างหนึ่ง เชื่อว่าเป็นการล้างบาป ที่ทำไว้ทั้งตั้งใจและไม่ได้ตั้งใจ

ตำนานนางสงกรานต์เป็นอย่างไร

ตำนานของนางสงกรานต์ เกิดขึ้นมาจากการที่ ท้าวกบิลพรหม ได้มาพบกับ ธรรมบาลกุมาร พร้อมกับคำถามทั้งหมด 3 ข้อด้วยกัน ด้วยข้อเสนอที่ว่าหาก ธรรมบาลกุมาร สามารถตอบคำถามได้ตามนั้น ท้าวกบิลพรหม จะตัดเศียรบูชา แต่หากตอบไม่ได้ ท่านจะทำการตัดศีรษะ ของธรรมบาลกุมาร

ซึ่งปัญหาทั้ง 3 ข้อจะมีเวลาทั้งหมด 7 วันในการหาคำตอบ และเมื่อครบกำหนดเวลา ท้าวกบิลพรหม ก็กลับมาเพื่อเอาคำตอบ และปรากฏว่า ธรรมบาลกุมาร สามารถตอบคำถามได้ทุกข้อทำให้ ท้าวกบิลพรหม ต้องตัดเศียรของตนตามคำสัญญา แต่เศียรของพระองค์มีฤทธิ์แรงมาก

หากตกลงพื้นไฟจะไหม้โลก หากโยนขึ้นฟ้าฝนจะแล้ง และหากทิ้งลงมหาสมุทรน้ำจะแห้ง เหตุนี้จึงทำให้พระธิดาทั้ง 7 ของพระองค์ ต้องผลัดกันมาดูแลเศียรของพระองค์ซึ่งพระนางทั้ง 7 จะมีดังนี้

  • วันอาทิตย์ นามว่า นางทุงสเทวี ดอกไม้ประจำกายคือ ดอกทับทิม อาภรณ์คือ แก้วปัทมราช ภักษาหารคือ อุทุมพร(ผลมะเดื่อ) หัตถ์ขวาถือ จักร หัตถ์ซ้ายถือ สังข์ พาหนะคือ ครุฑ
  • วันจันทร์ นามว่า นางโคราคเทวี ดอกไม้ประจำกายคือ ดอกปีบ อาภรณ์คือ มุกดาหาร ภักษาหารคือ เตล้ง (น้ำมัน) หัตถ์ขวาถือ พระขรรค์ ซ้ายถือ ไม้เท้า พาหนะคือ พยัคฆ์ (เสือ)
  • วันอังคาร นามว่า นางรากษสเทวี ดอกไม้ประจำกายคือ ดอกบัวหลวง อาภรณ์คือ แก้วโมรา ภักษาหารคือ โลหิต (เลือด) หัตถ์ขวาถือ ตรีศูล ซ้ายถือ ธนู พาหนะคือ วราหะ (หมู)
  • วันพุธ นามว่า นางมณฑาเทวี ดอกไม้ประจำกายคือ ดอกจำปา อาภรณ์คือไพฑูรย์ ภักษาหารคือ นมเนย หัตถ์ขวาถือ เหล็กแหลม ซ้ายถือ ไม้เท้า พาหนะคือ คัสพะ (ลา)
  • วันพฤหัสบดี นามว่า นางกิริณีเทวี ดอกไม้ประจำกายคือ ดอกมณฑา อาภรณ์คือ มรกต ภักษาหารคือ ถั่วงา หัตถ์ขวาถือ ขอ ซ้ายถือ ปืน พาหนะคือ คชสาร (ช้าง)
  • วันศุกร์ นามว่า นางกิมิทาเทวี ดอกไม้ประจำกายคือ ดอกจงกลนี อาภรณ์คือ บุษราคัม ภักษาหารคือ กล้วยน้ำ หัตถ์ขวาถือ พระขรรภ์ ซ้ายถือ พิณ พาหนะคือ มหิงสา (ควาย)
  • วันเสาร์ นามว่า นางมโหทรเทวี ดอกไม้ประจำกายคือ ดอกสามหาว (ผักตบไทย) อาภรณ์คือ นิลรัตน์ ภักษาหารคือ เนื้อทราย หัตถ์ขวาถือ จักร ซ้ายถือ ตรีศูล พาหนะคือ มยุรา

ที่มา: เปิดตำนานมหาสงกรานต์ กับ 7 นางสงกรานต์ผู้เปิดคำทำนายผ่านการอัญเชิญพระอาทิตย์ [3]

บทสรุป slot wallet cc

จากเรื่องราวทั้งหมด สรุปคือ วันนี้เราได้พาทุกท่าน มาทำความรู้จักกับเรื่องราว ความเป็นมาของวันสงกรานต์ หนึ่งในประเพณีเก่าแก่ ที่สืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น

 กิจกรรมมีอะไรบ้าง

สำหรับกิจกรรมที่ทำกันมานาน ในช่วงวันสงกรานต์นั้น มีมากมายไม่ว่าจะเป็น การทำบุญตักบาตร, การสรงน้ำพระ, บังสุกุลอัฐิ, การรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่, ก่อเจดีย์ทราย, การขนทรายเข้าวัด และการปล่อยนกปล่อยปลา

นางสงกรานต์มีกี่นาง

นางสงกรานต์มีทั้งหมด 7 นางนั่นก็คือ นางทุงสเทวี นางโคราคเทวี นางรากษสเทวี นางมณฑาเทวี นางกิริณีเทวี นางกิมิทาเทวี และ นางมโหทรเทวี

Facebook
Twitter
Telegram
LinkedIn
ข้อมูลผู้เขียน

แหล่งอ้างอิง